Tue, Apr 08 18:14 PM EDT Reuters
By Lewa Pardomuan and Ho Binh Minh
SINGAPORE/HANOI (Reuters) - After years of massive expansion, tearing up forests and swallowing land in neighboring countries to create rubber plantations, Vietnam is reaping what it sowed: a swelling of output that has made it the third-largest rubber producer.
Later this year rubber farmers will tap maturing trees from new plantations, but with global oversupply and limited storage capacity, Vietnam's burgeoning output could spark a price war in a market already at multi-year lows.
With little prospect of government intervention to support prices, Vietnam's rubber farmers will have little choice but to sell, shrugging off industry pleas to hold back and making other leading suppliers, Thailand, Indonesia and Malaysia, nervous.
"Of course we are worried," said Edy Irwansyah, executive secretary of the North Sumatran branch of the Indonesian Rubber Association, which groups exporters in the world's second-largest producer after Thailand. "If supply and demand don't match, then it will definitely weigh on prices."
In 2001, a rebound in rubber prices from 30-year lows of sub-50 cents a ton inspired Vietnam to diversify key agricultural crops and offer loans at low interest rates to farmers to plant rubber trees.
Vietnam's state-run rubber companies also opened plantations in neighboring Laos and Cambodia. The Vietnam Rubber Group, the top exporter, reported its rubber area last year rose 9 percent to 392,000 hectares (968,000 acres), of which 100,000 hectares were in Laos and Cambodia.
In just seven years, the aggressive state-sponsored rubber campaign has seen output rise by 60 percent from 2007's 606,000 tons, according to data from the Association of Natural Rubber Producing Countries (ANRPC), in which Vietnam is a member.
This year, output is forecast to hit nearly 1 million tons, said the International Rubber Study Group, which includes rubber producing and consuming countries and forecasts supply-demand outlook.
And Vietnam's output could rise a further 50 percent near the end of the decade.
"In the next five years (Vietnam) can move up to 1.5 million tons. Trees are already there waiting to mature. You can't ask farmers not to tap once they become mature," said Stephen Evans, secretary-general of the International Rubber Study Group.
PRICE WAR?
Traders well remember 2001 when Vietnam was accused of flooding the coffee market sending global prices to 30-year lows. Coffee farmers now curb sales when prices slip below certain levels, but rubber growers may not have the financial means to hold back.
"I wonder if you could see this kind of discipline in the rubber market. I doubt it. It's still a fairly new industry for them and they still haven't as much money," said Macquarie analyst Kona Haque in London.
Dealers say there could be price war among the main growers as production rises, with farmers possibly scrambling to cash in before any further fall in prices due to oversupply.
"They need cash to feed the family, and they can't afford to hold back because they are smallholders," said an exporter in Indonesia.
Rubber farmer Nguyen Bao in Binh Duong province, just outside Ho Chi Minh City, has no intention of holding back his rubber, citing farm revenues halving in the last two years to 100 million to 120 million dong ($4,700-$5,700) per hectare.
"We do not have alternatives, no other business, so we will have to stick to rubber. Yield has fallen, but I will not sell my rubber land," said Bao, who has farmed around 3 hectares since the 1980s.
Thailand, Indonesia and Malaysia met in February and recommended they should not sell rubber at the current prices. It has asked Vietnam to sell less this year.
But efforts to revive prices could hit a snag without participation from Vietnam, which is not a member of the International Rubber Consortium. The consortium includes major rubber producers such as Thailand, Indonesia and Malaysia and aims to maintain supply-demand balance.
"We have sent a letter to Vietnam Rubber Association, and they replied, supporting our effort not to sell rubber at low prices," said Irwansyah at the Indonesian rubber exporters group. "But whether Vietnam is actually doing it, we need to check their sales volumes."
Tran Ngoc Thuan, chairman of the Vietnam Rubber Association, said the association had proposed that members and domestic entrepreneurs cut natural rubber production in 2014 and avoid selling at levels lower than international prices.
State media reported last month that many farmers were cutting down rubber trees in the central highland province of Dak Nong due to slow sales and a drop in prices.
PRICES UNDER PRESSURE
Although global demand for natural rubber is forecast to grow by 4 percent in 2014, the market will see a surplus of 373,000 tons this year, a fourth year of oversupply, according to Macquarie.
Worries over economic growth and demand from China, which buys 60 percent of Vietnam's rubber, have sent tire grade prices on the Singapore Commodity Exchange to their weakest since mid-2009, below $2 a kg.
The tire-making industry makes up about 60 percent of global rubber consumption. Rubber is also used to make gloves, condoms and products in transport, construction, health and mining.
The global rubber price benchmark on the Tokyo Commodity Exchange is also languishing near 18-month lows because of similar fears.
The ANRPC expects Vietnam's exports to fall slightly in 2014 to 1 million tons from 1.08 million tons in 2013, and while it said domestic consumption will rise, Vietnam's closing stocks may hit a four-year high at 54,200 tons this year.
And there is no sign production will ease.
Top exporter the Ho Chi Minh City-based Vietnam Rubber Group said in a March statement it plans to expand rubber planting by nearly 10 percent to 430,000 hectares (1.06 million acres) by 2015, with at least 100,000 hectares in Laos and Cambodia.
----------------------------------------------------------------------------
นายชนะวงศ์ สมมุติ ประธานกลุ่มขายยางบ้านโพนงาม จังหวัดเลย เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ถึงสถานการณ์ราคายางพารา ณ วันที่ 21 เมษายน 2557 ว่า ราคายางก้อนถ้วยที่พ่อค้าคนกลางรับซื้อตามหมู่บ้านขณะนี้อยู่ที่กิโลกรัมละ 26 บาท จากก่อนหน้านี้เคยตกต่ำสุดเพียงกิโลกรัมละ 30-31 บาท ทำให้คนรับจ้างกรีดยางในพื้นที่ไม่คุ้มรับจ้าง เวลานี้ส่วนใหญ่ได้หันไปทำอาชีพอื่น ที่นิยมมากสุดคือขายสลากกินแบ่งรัฐบาล (ลอตเตอรี่) ส่งผลให้ชาวสวนต้องลงมือกรีดยางเอง บางรายอาจถึงขั้นต้องขายสวนทิ้งให้แก่นายทุนที่เข้ามากว้านซื้อ เพราะไม่คุ้มที่จะดูแลบำรุงรักษา
----------------------------------------------------------------------------
คนกรีดเผ่น-จ่อขายสวนนายทุน
วันพุธที่ 23 เมษายน 2014 เวลา 19:08 น. กอง บก.ฐานเศรษฐกิจ
ยางราคาตกพ่นพิษ ชาวสวนอ่วม คนรับจ้างกรีดยางเผ่น หนีขายลอตเตอรี่ ชี้ไม่คุ้มขายยางก้อนถ้วย กิโลฯละ 26 บาท ต่ำสุดรอบ 10 ปี เผยบางสวนอาจถึงขั้นต้องขายสวนทิ้งให้แก่นายทุนที่เข้ามากว้านซื้อ ขณะที่งบจ่ายค่าปัจจัยการผลิตยางพาราค้างร่วมแสนรายส่อแห้ว "ยุคล" เผยขัดรัฐธรรมนูญ ลุ้นกกต.ชี้ขาด ขณะตลาดเอเฟท คึกสวนกระแสคนแห่เก็งกำไร ดันโวลุ่มกระฉูด หลังรัฐปล่อยข่าวเทสต๊อก 2.1 แสนตัน
สอดคล้องกับนายบุญส่ง นับทอง นายกสมาคมสหพันธ์ชาวสวนยางแห่งประเทศไทย กล่าวถึง ราคายางขณะนี้น่าวิตกและกังวลมาก เนื่องจากราคายางพาราที่ชาวสวนขายได้นั้นใกล้เคียงกับราคาต้นทุนที่ กิโลกรัมละ 64.49 บาท และมีแนวโน้มขายขาดทุนคาดว่าจะขายขาดทุนลากยาว ดังนั้นในส่วนของสมาคมจึงได้พยายามเร่งรัดในส่วนค่าปัจจัยการผลิต ไร่ละ 2.520 พันบาท กับทางกรมส่งเสริมการเกษตรและ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)เร่งรัดให้จ่ายโดยเร็ว ส่วนราคายางก้อนถ้วยที่ชาวสวนขายได้ กิโลกรัมละ 26 บาทนั้นเป็นราคาต่ำที่สุดในรอบ 10 ปี
ขณะที่นายยุคล ลิ้มแหลมทอง รักษาการรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวถึง โครงการแก้ไขปัญหายางพาราทั้งระบบในปี 2557 ว่า จากที่รัฐบาลได้มีมาตรการระยะสั้นก่อนหน้านี้โดยจะให้เงินอุดหนุนแก่เกษตรกรเป็นค่าปัจจัยการผลิต 2,520 บาทต่อไร่ นั้นในเงื่อนไขตามมติ คณะรัฐมนตี (ครม.) ที่อนุมัติไว้ได้เปิดช่องไว้ว่าหากมีการสำรวจพื้นที่เปิดกรีดจริงและเอกสารถูกต้องนั้นสามารถจ่ายเพิ่มได้นั้น ซึ่งจากการที่กรมส่งเสริมการเกษตรได้สำรวจพบว่าจะต้องของบกลางเพิ่มกว่า 7 พันล้าน จ่ายชาวสวนร่วมแสนรายนั้น เป็นพื้นที่ส่วนเกินที่ ครม.มีมติช่วยเหลืออีกรวม 2.44 ล้านไร่นั้นจะต้องนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) และเข้าสู่ที่ประชุมครม.ใหม่ แต่ต้องยอมรับว่าเป็นรัฐบาลรักษาการ ทำอะไรไม่ได้เลย เพราะขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 1 วงเล็บ 3ห้ามรัฐบาลรักษาการ ทำงานหรือโครงการที่มีผลผูกพันต่อรัฐบาลชุดใหม่ จะต้องลุ้นว่าชาวสวนพื้นที่เกินนั้นจะต้องรอให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)พิจารณาว่าจะอนุมัติหรือไม่
ด้านสถาบันวิจัยยาง รายงานราคายาง ณ วันที่ 21 เมษายน 2556 ตลาดกลางยางพาราสงขลาปรับตัวลดลงทั้งยางแผ่นดิบและยางแผ่นรมควัน แตะระดับ 62.03 บาทต่อกิโลกรัม และ 65.01 บาทต่อกิโลกรัมตามลำดับ ปรับตัวลดลง 3.00 บาทต่อกิโลกรัม และ 2.18 บาทต่อกิโลกรัมตามลำดับ ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกับตลาดล่วงหน้าโตเกียวและเซี่ยงไฮ้ที่ปรับตัวลดลงแตะระดับต่ำสุดในรอบเกือบ 5 ปี เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัว 6 ไตรมาสติดต่อกัน ส่งผลให้ความต้องการใช้ยางลดลงด้วย ประกอบกับมีการประมาณการผลผลิตส่วนเกินปี 2557 อยู่ที่ 6.52 แสนตันสูงกว่าที่ประมาณการในเดือนธันวาคม 2556 ที่ 3.66 แสนตัน ขณะที่ความต้องการใช้ยังคงอ่อนแอ อย่างไรก็ตาม สต๊อกยางจีน ณ ตลาดล่วงหน้าเซี่ยงไฮ้ที่ปรับลดลงต่อเนื่องมาอยู่ที่ 1.70 แสนตัน (18 เม.ย.57) และการเริ่มเปิดกรีดในหลายพื้นที่ ต้นยางยังให้ผลผลิตไม่เต็มที่ ยังเป็นปัจจัยสนับสนุนราคายางได้ในระดับหนึ่ง
ขณะที่ ดร.ไพฑูรย์ วงศาสุทธิกุล กรรมการผู้จัดการ บจก. แอโกรเวลท์ และนายกสมาคมนายหน้าซื้อขายล่วงหน้าตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย หรือ เอเฟท กล่าวถึง สถานการณ์การซื้อขายผลิตภัณฑ์ยางพาราในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย หรือ เอเฟท เพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่า หลังจากรัฐบาลปล่อยข่าวว่าจะมีการระบายยางในสต๊อก จำนวน 2.1 แสนตัน จึงทำให้มีนักเก็งกำไรมาซื้อขายยางพาราในตลาดเป็นจำนวนจำนวนมาก โดยเฉลี่ยกว่า 200-300 สัญญาต่อวัน จากปกติปริมาณซื้อขายยางในตลาดโดยเฉลี่ยต่อวัน 100 สัญญา ส่วนมูลค่าก็เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยวันละกว่า 100 ล้านบาท จากปกติมูลค่าต่อวันเพียงแค่ 1 ใน 3 เท่านั้น
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2,942 วันที่ 24 - 26 เมษายน พ.ศ. 2557
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น